เช่า ตึกแถว อุดมสุข

2035 สมเด็จพระรามาธิบดีโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ใหญ่เพื่อประดิษฐานพระบรมอัฐิของ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ใน วัดพระศรีสรรเพชญ์ ในเขต พระราชวัง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ใหญ่เพื่อประดิษฐานพระบรมอัฐิของ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ในวัดเดียวกัน พ. 2042 สมเด็จพระรามาธิบดีโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระวิหารในวัดศรีสรรเพชญ์ พ. 2043 สมเด็จพระรามาธิบดีโปรดเกล้าฯ ให้พระพุทธรูป พระศรีสรรเพชญ์ ในวันอาทิตย์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 พ. 2046 ทรงให้มีงานฉลองสมโภช พระศรีสรรเพชญ์ วันศุกร์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 8 การเจริญสัมพันธไมตรีกับโปรตุเกส [ แก้] ใน พ. 2054 ทูตนำสารของ อาฟงซู ดึ อัลบูแกร์กึ แม่ทัพใหญ่ของ ประเทศโปรตุเกส ได้เดินทางมากรุงศรีอยุธยา เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและการค้า พระองค์ทรงตอบรับไมตรีจากโปรตุเกส และได้ทำสัญญาทางราชไมตรีกับทางการค้าต่อกัน ใน พ. 2059 นับเป็นสัญญาฉบับแรกที่ไทยทำกับต่างประเทศ โปรตุเกสจึงนับเป็นประเทศแรกใน ทวีปยุโรป ที่เข้ามาในกรุงศรีอยุธยา ผลจากการเข้ามาสร้างไมตรีของ ชาวโปรตุเกส ได้มีการนำเอาอาวุธแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพเข้ามาถวาย ได้แก่ ปืนประเภทต่าง ๆ และกระสุนดินดำ ต่อมาชาวโปรตุเกสได้เข้ามาเป็นทหารอาสาฝรั่ง ได้ช่วยฝึกวิธีการใช้อาวุธแบบตะวันตกกับกรุงศรีอยุธยา ราชการสงคราม [ แก้] สงครามกับมะละกา [ แก้] เมื่อ พ.

  1. พระราชประวัติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ — กองพลพัฒนาที่ 3
  2. กษัตริย์สมัยอยุธยา - ประวัติศาสตร์ไทยอันยาวนาน
  3. พระไตรโลกนาถ
  4. รู้จัก...สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กษัตราธิราชแห่งอยุธยา - มติชนอคาเดมี่

พระราชประวัติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ — กองพลพัฒนาที่ 3

๑๙๙๔ ต่อมา พ. ๑๙๙๘ เมืองมะละกาซึ่งเป็นเมืองขึ้นแก่กรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อน เจ้าเมืองตั้งตัว เป็นขบถ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้ส่งกองทัพลงไปปราบและได้เมืองมะละกาคืนมาดังเดิม อนึ่ง ในช่วงระยะเวลาของพระองค์ ปรากฏว่าทรงแผ่พระบรมเดชานุภาพเหนือดินแดนลาว กัมพูชา และทวายด้วย นอกจากนั้นยังทรงทำสงครามอีกหลายครั้งกับเชียงใหม่ เพื่อป้องกันเมืองกำแพงเพชร เมืองศรีสัชนาลัย และเมืองสุโขทัย หลังจากที่มีศึกสงครามกับฝ่ายล้านนานี้เอง ทำให้สมเด็จพระ บรมไตรโลกนาถเสด็จไปเสวยราชย์ที่เมืองพิษณุโลกและคอยทรงบัญชาการรบ พระองค์เสด็จออก ผนวชที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลกเมื่อ พ. ๒๐๐๘ ทรงพระผนวชเป็นเวลานานถึง ๘ เดือน หลังจาก ทรงลาพระผนวชแล้ว สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงครองราชย์อยู่ต่อไปที่เมืองพิษณุโลก และเสด็จ

2015 [4] ต่อมาในปี พ. 2027 ทรงผนวชพร้อมกับพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 เมื่อทรงลาผนวชในปีถัดมา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้สถาปนาพระองค์ไว้ที่ พระมหาอุปราช [5] ทรงพระนามว่า พระเอกสัตราช [6] เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จสวรรคตในปี พ. 2031 พระเอกสัตราชยังคงประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลก จนกระทั่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 เสด็จสวรรคตในปี พ. 2034 จึงเสด็จมาเสวยราชสมบัติพระนครศรีอยุธยาทรงพระนาม สมเด็จพระรามาธิบดี [5] วันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม พ.

กษัตริย์สมัยอยุธยา - ประวัติศาสตร์ไทยอันยาวนาน

ประวัติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็น พระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) พระราชชนนีเป็นพระราชธิดา พระมหาธรรมราชาที่ ๓ หรือพระยาไสลือไท (บางแห่งว่าเป็นพระราชธิดาพระมหาธรรมราชาที่ ๒) ในพระราชวงศ์สุโขทัย แต่เสวยราชสมบัติอยู่ที่เมืองพิษณุโลก ใน พ. ศ. ๑๙๗๔ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ โปรดให้เตรียมกองทัพใหญ่ไปตั้งประชุมพล ณ ทุ่งพระอุทัย นอกกรุงศรีอยุธยาทางตะวันออกเฉียงเหนือ จะยกไปทำสงครามเอาเมืองพระนครใน แคว้นกัมพูชา เวลานั้นพระราชชนนีทรงพระครรภ์แก่ เสด็จออกตามไปส่งสมเด็จพระราชบิดาและ ประสูติสมเด็จหน่อพระพุทธเจ้าในกาลสมัยนั้น เมื่อสมเด็จหน่อพระพุทธเจ้าทรงเจริญพระชนมายุ ๗ พรรษา พระราชบิดาโปรดให้พระราชชนนี เสด็จขึ้นไปเมืองพิษณุโลกเพื่อทรงเยี่ยมพระมหาธรรมราชา ครั้งนั้นโปรดให้สมเด็จหน่อพระพุทธเจ้า ตามเสด็จไปด้วยพระราชชนนี ต่อมาเมื่อพระชนมายุ ๙ พรรษา สมเด็จพระราชบิดาโปรดให้สถาปนา พระนามว่า สมเด็จพระราเมศวร ครั้นถึง พ. ๑๙๘๔ สมเด็จพระราเมศวรเจริญพระชนมายุ ๑๐ พรรษา สมเด็จพระราชบิดาโปรดให้สถาปนาพระอิสริยยศตั้งขึ้นไว้เป็นที่พระมหาอุปราชแห่ง กรุงศรีอยุธยา พ.

พระไตรโลกนาถ

พระองค์เป็นโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) กับชายาซึ่งเป็นราชนิกูลจากวงศ์สุโขทัย ในโคลงดั้นยวนพ่ายกล่าวว่า "แถลงปางพระมาตรไท้ สํภพ ท่านนา แดนดำบลพระอุทย ท่งกว้าง แถลงปางเกลื่อนพลรบ เรืองเดช เอามิ่งเมืองได้ง้าง แงบร ฯ" จากโคลงนี้ทำให้เราทราบว่าพระองค์ประสูติในปี พ. ศ.

ศ. ๑๙๙๘ เพื่อประโยชน์ในการลำดับชั้นของบุคคลว่ามีศักดิ์ สิทธิ์ และอำนาจหน้าที่ต่างกันอย่างไร เป็นการจัดระเบียบการปกครองให้มีแบบแผนรัดกุมกว่าเดิมในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ อยุธยาทำสงครามยืดเยื้อกับอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีพระเจ้าติโลกราชเป็นกษัตริย์ (ครองราชย์ พ. ๑๙๘๔ – ๒๐๓๐) ทำให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทับที่เมืองพิษณุโลกนานถึง ๒๕ ปี เพื่อดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือและเพื่อความสะดวกในการป้องกันการรุกรานของล้านนา ในระยะนี้จึงถือว่าเมืองพิษณุโลกมีฐานะเป็นราชธานีของอาณาจักรอยุธยา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสวรรคตใน พ. 2031 ทรงอยู่ในราชสมบัติ 40 ปี นับว่านานที่สุดในบรรดากษัตริย์อยุธยาทุกพระองค์

รู้จัก...สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กษัตราธิราชแห่งอยุธยา - มติชนอคาเดมี่

นนทบุรี: โครงการเลือกสรรหนังสือ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558. 305 หน้า. ISBN 978-616-16-0930-6 ดูเพิ่ม [ แก้] รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

  1. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 - วิกิพีเดีย
  2. Adapter sony vaio 19.5 v ราคา
  3. กระทะ ใหญ่ ราคา
  4. ขึ้น เสาเอก เสา โท
  5. แหวน ทองคำขาว ทองคำขาว ราคา
  6. เปรียบเทียบBelแผงหน้าจอนาฬิกา อุณหภูมิติดรถยนต์ LED ขนาดเล็ก | Thai garnish
  7. วัดพื้นที่ google map satellite
  8. Grown up แปลว่า
  9. Jimmy review รถ tv
  10. อา รา บั้ ม
  11. เครดิตฟรี 500 ไม่ต้องฝาก - UFAFAT168 ทางเข้า เว็บหลัก UFABET168

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระราชประวัติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิบดีที่ 2 (เจ้าสามพระยา) กับพระราชธิดาของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แห่งสุโขทัย พระองค์จึงเป็นเชื้อสายราชวงศ์สุพรรณบุรีและราชวงศ์พระร่วง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งของอยุธยา พระราชกรณียกิจที่สำคัญ 1. การรวมอาณาจักรสุโขทัยเข้ากับอยุธยา เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นเสวยราชย์ใน พ. ศ. ๑๙๙๑ นั้น ทางสุโขทัยไม่มีพระมหาธรรมราชาปกครองแล้ว คงมีแต่พระยายุทธิษเฐียร พระโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ ๔ ได้รับแต่งตั้งจากอยุธยาให้ไปปกครองเมืองพิษณุโลก ถึง พ. ๑๙๙๔ พระยายุทธิษเฐียรไปเข้ากับพระเจ้าติโลกราชแห่งล้านนา พระราชมารดาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ปกครองเมืองพิษณุโลกต่อมาจนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ. ๒๐๐๖ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เสด็จไปประทับที่พิษณุโลกและถือว่าอาณาจักรสุโขทัยถูกรวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยานับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา 2. ด้านการปฏิรูปการปกครอง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีพระประสงค์ที่จะดึงอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางหรือราชธานี จึงลดบทบาทของเจ้านายลงและเพิ่มอำนาจให้ขุนนาง เพื่อป้องกันการแย่งชิงอำนาจจากเชื้อพระวงศ์ เช่น ลดฐานะเมืองลูกหลวง เมืองหลานหลวงลงเป็นเมืองชั้นจัตวาและส่งขุนนางไปปกครองแทนเจ้านาย มีการแยกฝ่ายทหารและพลเรือนโดยใช้ขุนนางตำแหน่งสมุหพระกลาโหมดูแลกิจการฝ่ายทหาร สมุหนายกดูแลกิจการฝ่ายพลเรือนทั่วราชอาณาจักร ทรงตรากฎมนเทียรบาลขึ้นเพื่อความมั่งคงของสถาบันกษัตริย์ นอกจากนี้ยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ได้แก่ พระอัยการตำแหน่งนาพลเรือนและพระอัยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง พ.

July 26, 2022, 3:06 pm